แชร์

เผยความสุข 5 ระดับของการทำสเต็กที่ใครๆก็ทำได้

อัพเดทล่าสุด: 8 เม.ย. 2024
57 ผู้เข้าชม

1. บลูแรร์ (Blue Rare) ผิวเนื้อด้านนอกเป็นสีน้ำตาล ส่วนด้านในเนื้อมีสีแดงสดหรือยังดิบอยู่ ผ่านความร้อนแค่ผิวเท่านั้น อุณหภมิภายในชิ้นเนื้อขณะปรุงควรวัดได้ประมาณ 46-49 องศาเซียลเซียส

2. แรร์ (Rare) เนื้อสีแดงด้านใน 75% ไล่จนไปถึงเนื้อด้านนอกเป็นสีน้ำตาล อุณหภมิภายในชิ้นเนื้อขณะปรุงควรวัดได้ประมาณ 52-55 องศาเซียลเซียส

3. มีเดียม แรร์ (Medium Rare) เนื้อสีน้ำตาลจากด้านนอก 50% และสีแดงสดด้านในอีก 50% อุณหภมิภายในชิ้นเนื้อขณะปรุงควรวัดได้ประมาณ 55-60 องศาเซียลเซียส

4. มีเดียม (Medium) เนื้อส่วนสีแดง 25% ที่ด้านในและไล่ความสุขจนถึงผิวนอกเป็นสีน้ำตาล อุณหภมิภายในชิ้นเนื้อขณะปรุงควรวัดได้ประมาณ 60-65 องศาเซียลเซียส

5. เวล ดัน (Well Done) เนื้อสุก 100% มีความฉ่ำและความนุ่มน้อยแต่ยังไม่ถึงกระด้าง อุณหภมิภายในชิ้นเนื้อขณะปรุงควรวัดได้ประมาณ 70-80 องศาเซียลเซียส


ขอบคุณข้อมูจาก: ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่


บทความที่เกี่ยวข้อง
เคล็ดลับ Seasoning กระทะเหล็กหล่อให้เหมือนมือโปร
ก่อนการใช้งานกระทะเล็กหล่อครั้งแรก จำเป็นต้องผ่านกระบวนการ "Seasoning" เพื่อสร้างชั้นฟิล์มป้องกันสนิมและช่วยให้อาหารไม่ติดกระทะ
8 พ.ค. 2024
ทำไมจึงควรหลีกเลี่ยงการแทงเนื้อก่อนนำไปปรุง
การแทงเนื้อจะทำให้เนื้อสูญเสียน้ำ น้ำเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ทำให้เนื้อชุ่มฉ่ำ เมื่อเนื้อสูญเสียน้ำ เนื้อจะแห้งกระด้าง ไม่น่ารับประทาน
2 พ.ค. 2024
จุดกำเนิดของการกินเนื้อแบบสเต็กครั้งแรกของโลก
ฝรั่งเศษซึ่งเป็นประเทศที่เป็นเจ้าอาณานิคมในยุคแรกๆ สเต็กได้ถูกปรุงและบันทึกเป็นสูตรอาหารที่นั่นโดย พ่อค้าและเชฟที่มีชื่อเสียงในขณะนั้นคือ นายออกุส เอสคอฟฟีเยร์ (Auguste Escoffier)
29 เม.ย. 2024
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
เปรียบเทียบสินค้า
0/4
ลบทั้งหมด
เปรียบเทียบ
Powered By MakeWebEasy Logo MakeWebEasy